วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550

นาย สมศักดิ์ อวยชัย

นาย สมศักดิ์ อวยชัย ชั้น 2/3 เลขที่ 14 เกิดวันที่ 3กันยายน พ.ศ.2536
อายุ 13

ดอกกระเจียว


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cercuma alismatifolia Gagnepชื่อไทย : กระเจียว , ปทุมมา , บัวสวรรค์ ชื่อสามัญ : Siam Tulip , Patummaชื่อการค้า : Curcuma Sharome สกุลย่อย : Paracurcumaกลุ่ม : Patummaทรงต้น : คล้ายกล้วยถิ่นกำเนิด : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
ลักษณะทั่วไป : - ทรงพุ่มสูงประมาณ 55 เซนติเมตร กว้างประมาณ 50 เซ็นติเมตร ลำต้นเทียมสูงประมาณ 30 เซ็นติเมตร - ใบ กาบใบสีเขียวโคนสีแดง ก้านใบยาวประมาณ 10 เซ็นติเมตร ใบเป็นรูปรีค่อนข้างแคบ กว้าง 7.5 เซ็นติเมตร ยาว 32 เซ็นติเมตร แผ่นใบเรียบไม่มีขน บริเวณเส้นกลางใบอาจมีสีแดง ไม่มีเส้นลอย- ดอก ช่อดอกเกิดจากปลายลำต้นเทียม ก้านช่อดอกยาวประมาณ 50 เซ็นติเมตร ใบประดับสีเขียว บางครั้งอาจมีสีม่วงชมพูแต้มบ้าง ใบประดับไม่มีขน ขนาดกว้างประมาณ 2 เซ็นติเมตร ยาว 2.5 เซ็นติเมตร ใบประดับส่วนบนมีสีชมพูอมม่วง กว้าง 3.2 เซ็นติเมตร ยาว 5.5 เซ็นติเมตร จำนวนใบประดับส่วนบนจะแตกกันตามพันธุ์ และความสมบูรณ์ของต้น ดอกสีขาวปากสีม่วง ปากมีสันตามแนวยาว 2 สัน ด้านในของสันเป็นสีเหลือง กลีบสเตมิโนดมีสีขาวขนานกัน อับละอองเรณูป่องตลอดอัน
การขยายพันธุ์ : การเพาะเมล็ด , การแยกเหง้า , การผ่าเหง้า , การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

การปลูกถั่วงอก


ถั่วงอกเป็นอาหารคู่ครัวของคนไทย เช่น เป็นเครื่องเคียง ก๋วยเตี๋ยว น้ำ, แห้ง, ผัดไทย, ขนมจีนน้ำยา, หอยทอด, ข้าวยำปักษ์ใต้ ฯลฯ คนไทยมีวิธีเพาะถั่วงอกหลายวิธี เช่น การใส่โอ่ง หมกทราย หมกขี้เถ้าแกลบ ใส่ปี๊ป และอีกสารพัด แต่ละวิธีก็ได้ถั่วงอกออกมาลักษณะที่แตกต่างกัน สั้นบ้าง ยาวบ้าง ผอมบ้าง หรืออวบอัด แต่ละวิธีก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป บางท่านคงเคยนึกรังเกียจรากที่รุงรังของถั่วงอก ต้องเสียเวลาเด็ดทิ้ง หรือตามภัตตาคารต่างๆ เวลาจะนำมาประกอบอาหารก็ต้องเด็ดรากทิ้ง เพื่อความสวยงาม แต่วันนี้ขอนำเสนอ วิธี เพาะถั่วงอก โดยใช้อุปกรณ์ในการเพาะที่ง่ายที่สุด ถั่วงอกอวบอ้วน เก็บไว้ได้นานโดยใช้จุลินทรีย์ EM
อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมในการเพาะถั่วงอก
ขวดพลาสติกขวดน้ำหรือขวดโค๊ก เปล่าๆ
เจาะรูที่ก้นขวด 1 รู
เมล็ดถั่วเขียวไม่อบ
นมสด และ EM
ถาดรองขวด
กระดาษห่อขวด
วิธีทำ
นำถั่วเขียวแช่น้ำร้อน 20-30 นาที
หลังจากถั่วเขียวที่แช่ไว้เย็นแล้ว รินน้ำออกใส่น้ำสะอาดลงไปและผสม EM 1-2 ฝา แล้วแช่ทิ้งไว้ 3 ชม.
แล้วนำถั่วเขียวที่แช่ไว้บรรจุขวดพลาสติกปริมาตร 1/5 ของขวดที่เราใช้เป็นภาชนะเพาะ
วางขวดลงบนภาชนะหรือถาดรอง
ขวดห่อด้วยหนังสือพิมพ์ไม่ให้แสงเข้า ซุกไว้ในที่มืด
นำ EM 2 ฝา ผสมนมสด 2 ฝา ต่อน้ำสะอาด 1 บัว แล้วคนให้เข้ากัน
นำไปใส่ขวดที่มีถั่วเขียวบรรจุอยู่ทุกๆ 4 ชม.
น้ำที่ลงมาถาดรองก็นำมาใช้ได้อีก 2 ครั้ง จึงผสมใหม่
ประมาณ 2-3 วัน ถั่วเขียวก็จะเจริญเติบโตอวบอ้วนขาวฟูเต็มขวด
ก่อนนำไปประกอบอาหารก็ตัดขวด นำถั่วงอกไปผัดได้เลย

บอนไซ


ในที่นี้จะอธิบายถึงการเลี้ยงและดัดรายละเอียดให้ได้รูปทรง สำหรับต้นไทรจีนต้นนี้เป็นไม้ที่นำเข้ามาจากประเทศจีนมีโคนต้นที่สวยรากออกรอบต้น แต่รายละเอียดของกิ่งไม่เหมาะสม มีกิ่งที่ยาวเกินไปไม่ได้สัดส่วน ดังนั้นจึงตัดให้สั้นลงเพื่อเลี้ยงรายละเอียดใหม่ ให้มีความสมดุลเหมาะสมกับลำต้นและต้องการเลี้ยงให้จบเร็ว ในระยะเริ่มต้น ควรเลี้ยงในกระถางที่ใหญ่ก่อน เพื่อจะให้ไม้ที่จะเลี้ยงได้ดินมาก ๆ ดินที่ใช้ปลูกควรร่วนซุย สำหรับต้นไทรนี้จะเป็นดินขุยไผ่ก็ได้ ดินควรเป็นเม็ดหากดินละเอียดจะจับตัวเป็นเนื้อเดียวกันเร็วกว่าดินที่เป็นเม็ด ดินควรมีส่วนผสมของดินเผาหรือกระถางที่ทุบให้เป็นเม็ด เพื่อจะช่วยให้ดินไม่จับตัวเป็นเนื้อเดียวกันและยังดูดซับน้ำไว้ ช่วยให้ดินมีความชุ่มชื้นตลอดเวลา และควรตัดตุ้มไม้ให้บางจนถึงราก แต่ต้องมีรากพอสมควรหากในอนาคตเราเปลี่ยนใส่กระถางบางจะได้ไม่มีปัญหา เพราะถ้าไม่ตัดให้บางไว้แต่แรกแล้วไปตัดตุ้มให้บางในภายหลังอาจทำให้ตายได้ และไม่ควรใส่ปุ๋ยสำหรับไม้ปลูกใหม่
1. คัดเลือกกิ่งหลักของบอนไซไว้ ตัดให้สั้นลงมาเพื่อให้กิ่งใหม่แตกรายละเอียดออกมา ดังรูป
2.หลังจากตัดกิ่งประมาณ 2 เดือน กิ่งที่เราตัดไว้ก็จะแตกกิ่งออกมาจำนวนมากก็ให้คัดเลือกกิ่งที่ต้องการไว้ โดยกิ่งที่เลือกต้องไม่อยู่ในตำแหน่งที่ตรงข้ามกัน สลับกันไปซ้ายขวา ใช้ลวดเล็กประคองกิ่งที่คัดเลือกไว้แล้วดัดให้คดงอสลับกันไปซ้ายขวา ดังรูป
3.หลังจากที่คัดเลือกกิ่งประมาณ 2 เดือน กิ่งรายละเอียดที่คัดเลือกก็ใหญ่ขึ้นและแตกรายละเอียดออกมาดังรูป
4.อีก 2 เดือนต่อมาตัดใบออกให้หมดเปลี่ยนดินจะเปลี่ยนกระถางหรือไม่ก็ได้ก็ ไม้จะมีรายละเอียดมากขึ้น เข้าลวด 5.หลังจากนั้นประมาณ 1 เดือน ไม้เริ่มแตกใบ ดังรูป
ซึ่งจากการเลี้ยงมานี้ใช้ระยะเวลาไม่ถึง 1 ปีแล้วก็รอให้กิ่งใหญ่ขึ้นและแตกรายละเอียดมากขึ้นทำตามข้อ 2- 4 ต่อไป ก็จะได้รายละเอียดมากขึ้น และไม้ยิ่งสวยมากขึ้น ไปตามระยะเวลาที่เลี้ยง

วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2550

การปลูกพริก


โดยทั่วไป การปลูกพริกของเกษตรกรจะมีการใช้สารเคมี แต่ก็มีบางพื้นที่ บางจังหวัดของประเทศไทยที่เกษตรกรได้หันมา ปลูกพริกโดยใช้สารชีวภาพ ซึ่งพริกที่ปลูก โดยใช้สารชีวภาพจะมีการเจริญเติบโต ให้ผลผลิตสูง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ แถมยังปลอดภัยต่อผู้บริโภคด้วย
ก็จะมีคำถามเป็นจำนวนมากและบ่อย ครั้งเกี่ยวกับการทำเกษตรชีวภาพ จึงขอชี้แจงให้เกิดความเข้าใจให้ชัดเจนว่า เกษตร ชีวภาพ คืออะไรกันแน่ ในขณะที่ทั่วโลก กำลังตื่นตัวและพยายามเปลี่ยนยุค จากเกษตรเคมีไปเป็นเกษตรชีวภาพ
เกษตรชีวภาพ หมายถึง การทำเกษตร เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่ออนุชนรุ่นหลัง โดยการพัฒนาปลูก พืชหรือเลี้ยงสัตว์ เพื่อผลิตอาหารที่ปลอดภัย จากสารพิษและเกษตรอินทรีย์ โดยการ หยุดใช้สารเคมีที่เป็นพิษทางการเกษตร เช่น ยาปราบศัตรูพืช ได้แก่ ยาฆ่าแมลง ยาป้องกันกำจัดโรคพืช ยาป้องกันกำจัดแมลง ฯลฯ
เมื่อสมาชิกทุกท่านเข้าใจเกี่ยวกับเกษตร ชีวภาพดีแล้ว วันนี้วิชาชีพปริทัศน์จึงขอนำ วิธี "การปลูกพริก" โดยใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ มาแนะนำให้กับสมาชิกได้รู้และเข้าใจกัน เพื่อเป็นแนวทางในการปลูกพืชชนิดอื่นๆ ต่อไป
เริ่มจากการเตรียมดิน ระหว่างไถพรวน ดินให้รองพื้นด้วยปูนขาว อัตรา 75 ก.ก. ต่อไร่ และปุ๋ย ไบ.โอ.ฮิวมิค.พลัส. อัตรา 50 ก.ก. ต่อไร่ แล้วรดน้ำตาม หรือจะใช้ปุ๋ยดิน ทอง อัตรา 1 แกลลอน (5 ลิตร) ต่อ 1 ไร่ รองพื้น เพื่อปรับสภาพดินและป้องกันกำจัด เชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคพืชที่มีอยู่ในดิน บ่ม ดินทิ้งไว้ประมาณ 7-10 วัน จึงยกร่องกว้าง 1 เมตร สูง 20 ซม. แล้วจึงคลุมผ้ายาง ทำการ เจาะรูผ้ายางให้มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. ห่างกันประมาณ 50 ซม. เพื่อป้องกันกำจัด วัชพืชในแปลงพริก

โคลงการพระราชดำริแหลมผักเบี้ย


โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลแหลมผัดเบี้ย อำเภอบ้านเหลม จังหัวดเพรชบุรี เกิดขึ้น สิบเนื่องจากพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงมีพระราชดำริด้านปัญหาขยะและน้ำเสีย
มีวัตถุประสงค์หลัก คือ การศึกษาวิจัยหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาน้ำเสียและขยะชุมชนที่ประหยัด สะดวก ทำได้ง่าย และสามารถนำไปใช้ประยุกต์ใจ้กับพื้นที่อื่น ในประเทศได้อย่างกว้างขวาง การดำเนินการบำบัดน้ำเสีย1.)ระบายน้ำทะเลเข้าสู่แปลงพืชป่าขายเลนในช่วงที่น้ำขึ้นสูงสุดในรอบวัน เมื่อระดับการขึ้น-ลงของน้ำทะเลอยู่ในระดับทรงตัว(น้ำนิ่ง)ทำการปิดประตูระบายน้ำเพื่อขังน้ำทะเลไว้2.)ระบายน้ำเสยเข้าแปลงในปริมาณ2,450 ลูกบาศก์เมตร3.)กักพักน้ำที่ผสมระหว่างน้ำทะเลและน้ำเสียไว้ เพื่อให้เกิดกระบวนการบำบัดตามหลักการ4.)อ่านค่าความสูงที่มาตรวัดระดับน้ำบริเวณหัวแปลง และท้ายแปลงของระบบแปลงพืชป่าขายเลน เพื่อคำนวณปริมาณน้ำทะเลที่เข้าสู่ระบบ ฯ ซึ่งสามารถคำนวณได้ดังนี้ปริมาตรน้ำทะเล = 1/2 * ความยาวแปลง * ความกว้างแปลง* (ระดับน้ำหัวแปลง +ระดับน้ำท้ายแปลง)5.)คำนวณปริมาณน้ำเสียที่ต้องระบายเข้าสู่ระบบแปลงพืชป่าชายเลนโดยตรวจสอบจากสัดส่วนระหว่างน้ำเสยและน้ำทะเลที่เหมาะในการบำบัดผลประโยชน์ทีได้รับ1.) การบำบัดน้ำเสยที่ใช้วิธีกาธรรมชาติ 2.)การฟื้นฟูสภาพป่าชายเลนให้กับสิ่งแวดล้อม3.)เป็นแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้ำในธรรมชาติข้อจำกัด1.)สามารถใช้ได้กับพืนที่ที่มีสภาพติดกับพื้นที่ป่าชายเลนเท่านั้น2.)การลงทุนค่อนข้างสูง3.)ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการขึ้น-ลงของน้ำทะเลเป็นอย่างดี

โดยทั่วไปหากพิจารณาจากลักษณะเฉพาะและการปะรกอบอาชีพสามารถแบ่งลักษณะของชุมชน/สังคมเป็น 5 กลุ่ม คือ ชุมชนเกษตรกรรม ชุมชนพาณิชยะกรรม ชุมชนอุตสาหกรรม ชุมชนท่องเที่ยวแบะนันทนาการ และชุมชนผสมแมื่อสามารถจำแนกรูปแบบชุมชนออกเป็นประเภทเหล่านี้ได้แล้ จะทำให้นักประชาสัมพันธ์และนักสิ่งแวดล้อมศึกษาสามารถวางแผนในการประขาสัมพันธ์และการให้ความรู้เทคโนโลยีการกำจัดขยะและบำบัดได้

1.) ความรู้ เป็นความรู้ที่ลุ่มลึกจนสามารถสร้างแนวคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
2.) ทัศนคติ (attitudes) เป็นแนวคิดที่ถูกต้องในการอนุรักษ์สาธารณะจากตนเอง ทั้งต่อหน้าและลับหลังกลุ่มบุคคล
3.)จิตสำนึก สิ่งที่อยู่ภายใต้จิตใต้สำนึกตลอดเวลา ครั้งใดที่เกิดปัญหาหรือพบเห็นเรื่องที่มีความรู้จะดึงจิตใต้สำนึกให้เห็นภาพ
4.) การรู้สึกตอบโต้(sensitivity)สิ่งที่ว่องไวและถูกต้องหมายถึงว่าคราใดที่มีสิ่งเร้าต้องให้กระทำ จะมีเขาปัญญาเลือกกระทำได้ถูกต้อง
5.)ทักษะ มีความรู้อย่างลึกซึ้งจนสามารุจำแนกได้อย่างถูกต้องในทุกสภาวะของสิ่งนั้น อีกทั้งสามารถปฏิบัติได้ด้วยความชำนาญ หลักการและเหตุผลการอาศัยพืชช่วยในการกรองหรือฟอกน้ำให้สะอาดชึ้น อันเป็นผลมาจากพืชจะดูดซับธาตุอาหารที่มีอยู่ในน้ำเสยนำไปใช้ในการเจริญเติบโต และการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ที่อยู่ในดินช่วยประกอบกัน วัตุถประสงค์1.) เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้าอาหารสัตว์ กรองน้ำเสียให้กับหน่วยงานต่างๆ นำไปใช้ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและแพร่หลาย2.)เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านน้ำเสียชุมชน ด้วยเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยการใชระบบหญ้าอาหารสัตว์กรองน้ำเสีย3.)เพื่อพะฒนารูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสยด้วยระบบหญ้าอาหารสัตว์ กรองน้ำเสีย ให้สามารถน้ำไปปฏิบัติโดยปะรหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปประโยชน์ในการเลี้ยงสัตว์ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสยด้วยหญ้ากรองน้ำเสียการทำบ่อเพื่อกักเก็บน้ำเสียที่ได้จากชุมชน และปลูกหญ้าอาหารสัตว์ที่ผ่านการคัดเลือกว่าเหมาะสม 3 ชนิด คือ หญ้าสตาร์ หญ้าคาลลา และปลูกหญ้าโคสครอสช่วยในการบำบัดน้ำเสียอาศัยการกรองน้ำเสียขณะที่ไหลผ่านแปลงหญ้าและการปลดปล่อยก๊าซออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์แสงให้กับน้ำเสียร่วมกับการใช้ดินผสมทรายช่วยในการกรองน้ำเสียสำหรับเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจะมีลักษณะการให้น้ำเสียหรือระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบคือ ระบบที่ให้น้ำเสียขังไว้ 5 วัน และปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 2 วัน เพือ่ให้จุลินทรีย์ในดินมีโอกาศได้พักตัว และระบายน้ำที่ผ่านการบไบัดออกจากระบบโดยปล่อยระบายน้ำทางระบบท่อใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ
รูปแบบการเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียวัสดุอุปกรณ์ 1.) บ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1 เมตร ลึก 1.00เมตร2.)บ่อดินขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 1.10 เมตร3.)ทรายหยาบจำนวน 50 ลูกบาศก์เมตร 4.)ดินผสมทราย ในสัดส่วนดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน จำนวน 125 ลูกบาศก์เมตร5.) ต้นกล้าหญ้าอาหารสัตว์ จำนวน 1,250 ต้น6.)กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร 7.)ท่อ pvc 6 นิ้ว ยาว 3 เมตรการเตรียมต้นพันธุ์หญ้าและการปลูกการเตรียมต้นกาล้าหญ้า1.)เตรียมพื้นที่สำหรับการเพาะชำและอนุบาลต้นกล้าหญ้า2.)นำไปปักขำลงในแปลงหรือถุงเพระขำที่จัดเตียมไว้3.)ทำการตัดแต่งกอให้สมบูรณ์ ยาวประมาณ 1 ฟุต4.) ดูแบยำรุงรักษา เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์การปลูกพืช1.) เติมน้ำใส่แปลงเพื่อให้เนื้อดินในแปลงเกิดความชุ่มชื้นและนิ่มจะได้ปลูกหญ้าได้สะดวก2.)ทำการปลูกหญ้าที่เตรียมไว้ลงแปลง โดยให้มีระยะห่างระหว่างแพวและต้น เท่ากับ 50 เซนติเมตร 3.)ดูแลหรืออนุบาลด้วยการใช้น้ำเสียเพื่อให้หญ้าที่ปลูกไว้การดำเนินการบำบัดน้ำเสียเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสีย สามารถใข้ระบบการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดโดยระบายน้ำเข้าสู่ระบบให้ได้ระดับ 30 ซม. จากระดับพื้นผิวดินบริเวณตอนท้ายแปลง ปล่อยน้ำเสยขังไว้ 5 วัน จากนั้นจึงระบายน้ำที่ผ่านการบำบัดออกทางระบบระบายน้ำใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาย แล้วปลบ่อยทิ้งไว้ให้แป้ง 2 วัน จึงเติมน้ำเสียใหม่ลงสู่แปลงบำบัด
ผลผลิตของหญ้าหญ้าอาหารสัตว์จะเจริญเติบโตเต็มที่ภายหลังระยะเวลา 45 วัน จากการใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งจากขนาดแปลงระบบหญ้ากรองน้ำเสียกล้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร สามารถใหผลผลิตหญ้าประมาณ250-375กิโลกรัม หรือ 1-1.5 กิโดลกรัมต่อตารางเมตร

หลักการและเหตุผลการอาศัยพืชช่วยในการกรองหรือฟอกน้ำให้สะอาดชึ้น อันเป็นผลมาจากพืชจะดูดซับธาตุอาหารที่มีอยู่ในน้ำเสยนำไปใช้ในการเจริญเติบโต และการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์ที่อยู่ในดินช่วยประกอบกัน วัตุถประสงค์1.) เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้าอาหารสัตว์ กรองน้ำเสียให้กับหน่วยงานต่างๆ นำไปใช้ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและแพร่หลาย2.)เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านน้ำเสียชุมชน ด้วยเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยการใชระบบหญ้าอาหารสัตว์กรองน้ำเสีย3.)เพื่อพะฒนารูปแบบเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสยด้วยระบบหญ้าอาหารสัตว์ กรองน้ำเสีย ให้สามารถน้ำไปปฏิบัติโดยปะรหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปประโยชน์ในการเลี้ยงสัตว์ลักษณะเทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสยด้วยหญ้ากรองน้ำเสียการทำบ่อเพื่อกักเก็บน้ำเสียที่ได้จากชุมชน และปลูกหญ้าอาหารสัตว์ที่ผ่านการคัดเลือกว่าเหมาะสม 3 ชนิด คือ หญ้าสตาร์ หญ้าคาลลา และปลูกหญ้าโคสครอสช่วยในการบำบัดน้ำเสียอาศัยการกรองน้ำเสียขณะที่ไหลผ่านแปลงหญ้าและการปลดปล่อยก๊าซออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์แสงให้กับน้ำเสียร่วมกับการใช้ดินผสมทรายช่วยในการกรองน้ำเสียสำหรับเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นจะมีลักษณะการให้น้ำเสียหรือระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบคือ ระบบที่ให้น้ำเสียขังไว้ 5 วัน และปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง 2 วัน เพือ่ให้จุลินทรีย์ในดินมีโอกาศได้พักตัว และระบายน้ำที่ผ่านการบไบัดออกจากระบบโดยปล่อยระบายน้ำทางระบบท่อใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ
รูปแบบการเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสียวัสดุอุปกรณ์ 1.) บ่อคอนกรีตขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 1 เมตร ลึก 1.00เมตร2.)บ่อดินขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร ลึก 1.10 เมตร3.)ทรายหยาบจำนวน 50 ลูกบาศก์เมตร 4.)ดินผสมทราย ในสัดส่วนดิน 3 ส่วน ทราย 1 ส่วน จำนวน 125 ลูกบาศก์เมตร5.) ต้นกล้าหญ้าอาหารสัตว์ จำนวน 1,250 ต้น6.)กรวดขนาด 1-2 นิ้ว จำนวน 1/4 ลูกบาศก์เมตร 7.)ท่อ pvc 6 นิ้ว ยาว 3 เมตรการเตรียมต้นพันธุ์หญ้าและการปลูกการเตรียมต้นกาล้าหญ้า1.)เตรียมพื้นที่สำหรับการเพาะชำและอนุบาลต้นกล้าหญ้า2.)นำไปปักขำลงในแปลงหรือถุงเพระขำที่จัดเตียมไว้3.)ทำการตัดแต่งกอให้สมบูรณ์ ยาวประมาณ 1 ฟุต4.) ดูแบยำรุงรักษา เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์การปลูกพืช1.) เติมน้ำใส่แปลงเพื่อให้เนื้อดินในแปลงเกิดความชุ่มชื้นและนิ่มจะได้ปลูกหญ้าได้สะดวก2.)ทำการปลูกหญ้าที่เตรียมไว้ลงแปลง โดยให้มีระยะห่างระหว่างแพวและต้น เท่ากับ 50 เซนติเมตร 3.)ดูแลหรืออนุบาลด้วยการใช้น้ำเสียเพื่อให้หญ้าที่ปลูกไว้การดำเนินการบำบัดน้ำเสียเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสีย สามารถใข้ระบบการระบายน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดโดยระบายน้ำเข้าสู่ระบบให้ได้ระดับ 30 ซม. จากระดับพื้นผิวดินบริเวณตอนท้ายแปลง ปล่อยน้ำเสยขังไว้ 5 วัน จากนั้นจึงระบายน้ำที่ผ่านการบำบัดออกทางระบบระบายน้ำใต้ดินสู่แหล่งน้ำธรรมชาย แล้วปลบ่อยทิ้งไว้ให้แป้ง 2 วัน จึงเติมน้ำเสียใหม่ลงสู่แปลงบำบัด
ผลผลิตของหญ้าหญ้าอาหารสัตว์จะเจริญเติบโตเต็มที่ภายหลังระยะเวลา 45 วัน จากการใช้ในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งจากขนาดแปลงระบบหญ้ากรองน้ำเสียกล้าง 5 เมตร ยาว 50 เมตร สามารถใหผลผลิตหญ้าประมาณ250-375กิโลกรัม หรือ 1-1.5 กิโดลกรัมต่อตารางเมตร

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2550

การปลูกหมาก


เป็นพรรณไม้ยืนต้นประเภทปาล์มมีทรงพุ่มขนาดกลางลำต้นมีความสูงประมาณ 5-10 เมตรการเจริญเป็นลำต้นเดี่ยวไม่มีหน่อ ลำต้นตรงสูง ผิวลำต้นสีน้ำตาลปนเทา ลำต้นเป็นข้อปล้องเห็นได้ชัด ใบเป็นใบรวม แตกออกจากทางใบเป็นรูปขนตก เรียงกันเป็นแถวอย่างเป็นระเบียบลักษณะใบแคบยาว ขนาดใบมีความกว้างประมาณ 3-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 50 - 60 เซนติเมตรตัวใบมีสีเขียวเรียบเป็นมันทางใบยาวประมาณ 1-2 เมตรลักษณะโค้งเล็กน้อยโคนทางจะเป็นกาบหุ้มลำต้นมีสีเขียวอ่อนปนขาวนวลออกดอกเป็นช่อคล้ายจั่นหมากก้านดอกมีสีขาวนวลลักษณะของดอกมีขนาดเล็กรวมกันอยู่เป็นจำนวนมากมีสีขาวอมเหลือง ผลเล็กกลมรีมีสีเขียวอ่อน เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีแดงสด ภายในผลมีเมล็ดอยู่เพียงเมล็ดเดียว
คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นหมากนวลไว้ประจำบ้านจะทำให้มีความอ่อนน้อมความมีน้ำใจเพราะหมากนวลมีการแตกใบที่สวยงานลักษณะที่มีความนิ่มนวลอ่อนไหวนอกจากนี้ลักษณะการแตกใบของหมากนวลยังมีลักษณะที่โดดเด่นสง่านวลชวนมองนอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบหมากนวลไว้ว่าเป็นชื่อหมากชนิดหนึ่งที่ใช้รับประทานในสมัจโบราณคือหมากสงให้ในพิธี ต้อนรับแขกที่ไปมาหาสู่กัน ดังนั้นจึงแสดงถึงการมีนิสัยใจคอที่ดี มีน้ำใจงาม
เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อาศัย ควรปลูกต้นหมากนวลไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผู้ที่ปลูกควรปลูกในวันอังคาร เพราะโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เอาประโยชน์ทั่วไปทางใบให้ปลูกในวันอังคาร
1.การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวน ขนาดหลุมปลูก 50 x 50 x 50 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ยคอกหรือ ปุ๋ยหมัก : ดินร่วน อัตรา 1 : 2 ผสมดินปลูก2.การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายในและภายนอกอาคาร เหมาะที่จะใช้กับต้นหมากนวลที่มีอายุระหว่าง 1-3 ปี การปลูกควรใช้กระถางทรงสูงขนาด 14-24 นิ้ว ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก : : ดินร่วน อัตรา 1 : 1 :1 ผสมดินปลูกควร เปลี่ยนกระถางทุก12ปีแล้วแต่ความเหมาะสมของของการเจริญเติบโตของทรงพุ่มโตทั้งนี้เพราะการขยายตัวของ รากแน่นเกินไปและเพื่อเปลี่ยนดินปลูกใหม่ทดแทนดินปลูกเดิมที่เสื่อมสภาพไป
แสง ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้งน้ำ ต้องการปริมาณปานกลาง ควรให้น้ำ 7-10 วัน/ครั้งดิน ชอบดินร่วนซุย มีความชื้นปานกลางปุ๋ย ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 1-2 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 2-4 ครั้งการขยายพันธ์ การเพาะเมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดี คือ การเพาะเมล็ดโรค ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่มีความทนทานต่อโรคได้ดีแมลง เพลี้ยต่าง ๆ อาการ ใบถูกกัดแทะ เป็นรู และเป็นรอย ทำให้ต้นแคระแกร็นและเสียรูปทรงการป้องกัน รักษาความสะอาดบริเวณแปลงปลูก การกำจัด ใช้ยาไดอาซินอน อัตราและคำแนะนำระบุไว้ตามฉลาก

เครื่องมือการเกษตร



เครื่องมือและอุปกรณ์เกษตร
เครื่องมือเกษตร หมายถึง อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยทุนแรงและอำนวยความสะดวกในการทำงานเครื่องมือที่ดีควรมีลักษณ์เหมาะสมกับงานนั้นๆและอยู่ในสภาพที่ใช้งานช่วยให้ทำการเกษตรมีประสิทธิดีทำได้รวดเร็วและได้ผลอย่างดีประเภทของเครื่องมือเกษตรแบ่งได้ตามลักษณะดังนี้
1.เครื่องมือใช้กับงานดินเครื่องมือประเภทใช้สำหรับทำงานเกษตรที่เกี่ยวข้องกับงานดิน
2. เครื่องในการใช้ในการให้น้ำเครื่องมือประเภทนี้ส่วนใหญ่ใช้ในการดูแลรักษาพืชเช่นการให้น้ำพืช
3.เครื่องมือตัดแต่งกิ่งและขยายพันธุ์เครื่องมือและอุปกรณ์เกษตรสามารถทำงานได้มากขึ้นและใช้เวลาน้อยลง
เครื่องมือเตรียมพื้นที่ปลูก
1.จอบ 8.คราด
2.บัวรดน้ำ 9.เสียม
3.กรรไกรตัดกิ่ง
4.ช้อนปลูก
5.พลั่ว
6.ถังน้ำ
7.ส้อมพรวน

1.จอบ
ใช้สำหรับขุดดินขุดหลุมหลุมใหญ่ๆ
2.บัวรดน้ำ
ใช้สำหรับรดน้ำพืชน้ำที่ออกจากฝักบัวเป็นฝอยกระจายทั่วต้นพืช
3.มีดดายหญ้า
ใช้สำหรับดายหญ้าที่สูงขึ้นซึ่งไม่สามารถใช้กรรไกรตัดหญ้าตัดได้
4.กรรไกรตัดกิ่ง
ใช้สำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ขนาดเล็กๆ
5.ช้อนปลูก
ใช้สำหรับเคลื่อนย้ายต้นไม้เล็กๆไปปลูกที่อื่น
6.พลั่ว
ใช้สำหรับตักวัสดุใช้ในการเกษตรเช่นปุ๋ย
พลั่วมี2ชนิดคือ 1.พลั่วหน้าแหลม2.พลั่วหน้าตัดตรง
7.ถังน้ำ
ใช้สำหรับตักน้ำจากบ่อหรือสระใส่บัวรดน้ำ
8.คราด
ใช้สำหรับย่อยดินและเก็บเศษหญ้า
9.เสียม
ใช้สำหรับขุดหลุมปลูกต้นไม้ส่วนมากนิยมขุดหลุมเล็กลึก
10.มีดดายหญ้า
ใช้สำหรับดายหญ้าที่สูงขึ้นซึ่งไม่สามารถใช้กรรไกรตัดได้